บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2018

วิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคจัดการเรียนรู้

วิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคจัดการเรียนรู้ สุวิทย์ มูลคำ ,  อรทัย มูลคำ  ( 2545 ) และ ประกาศิต อานุภาพแสนยากร  ( 2559 ) ได้รวบรวม 88 วิธีการจัดการเรียนรู้เป็นดังนี้ การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ 1. การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย (Lecture Method) 2. การจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย (Discussion Method) 3. การจัดการเรียนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) 4. การจัดการเรียนรู้แบบสาธิต (Demonstration Method) 5. การจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role Method) 6. การจัดการเรียนรู้โดยใช้การแสดงละคร (Dramatization) 7. การจัดการเรียนรู้แบบสถานการณ์จำลอง (Simulation) 8. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม (Game) 9. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ (Process) 10. การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการสุ่ม (Group Process) 11. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 12. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค TGT (Team Games Tournaments) 13. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) 14. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค JIGSAW 15

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Theory of Cooperative or Collaborative Learning) ( ทิศนา     แขมมณี. 2554.)   ได้รวบรวมทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือไว้ดังนี้    Johnson and Johnson ( 1994:31-32) กล่าวไว้ว่า ปฎิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนมี 3 ลักษณะ คือ 1.ลักษณะแข่งขันกัน ในการศึกษาเรียนรู้ ผู้เรียนแต่ละคนจะพยายามเรียนให้ได้ดีกว่าคนอื่น เพื่อให้ได้คะแนนดี ได้รับการยกย่องหรือได้รับการตอบแทนในลักษณะต่างๆ 2.ลักษณะต่างคนต่างเรียน คือ แต่ละคนต่างก็รับผิดชอบดูแลตนเองให้เกิดการเรียนรู้ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับผู้อื่น 3.ลักษณะร่วมมือกันหรือช่วยกันในการเรียนรู้ คือ แต่ละคนต่างก้รับผิดชอบในการเรียนรู้ของตน และในขณเดียวกันก็ต้องช่วยให้สมาชิกคนอื่นเรียนรู้ด้วย                        การเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อยโดยสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกันประมาณ 3  –  6 คน    ช่วยกันเรียนรู้เพื่อไปสู่เป้าหมายของกลุ่ม  โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในลักษณะแข่งขันกัน    ต่างคนต่างเรียนและร่วมมือกันหรือช่วยกันในการเรียนรู้    การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จะเน้นให้ผู้เรียนช่วยกันในการเรียนรู้ โดยมีกิจกรรมที่ให้

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism)

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ( Constructionism) ลักขณา    สริวัฒน์ ( 2557: 188-192)    ได้กล่าวถึงทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงานไว้ดังนี้ ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ( Constructionism)  ทฤษฎีนี้พัฒนาโดยศาสตราจารย์ซีมัวร์ เพเพิร์ท ( Papert. 1980)  แห่งสถาบันเทคโนโลยีแมสซาซูเซตส์ ( Massachusetts Institute of Technology : M.I.T.)  ที่ได้มีโอกาสร่วมงานกับเพียเจต์และได้พัฒนาทฤษฎีนี้มาใช้ในวงการศึกษาโดยมีแนวคิดว่าการเรียนรู้ที่ดีและทรงประสิทธิภาพเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะต้องมีกระบวนการสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียน ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายให้กับสิ่งที่สนใจนั้นด้วยตนเองและอยู่ในบริบทที่แท้จริงของผู้เรียนเอง จากนั้นผู้เรียนได้มีโอกาสนำความรู้ที่สร้างสรรค์ขึ้นมานั้นไปสร้างสรรค์ชิ้นงานขึ้นมา เป็นการทำให้เห็นความคิดเห็นที่เป็นรูปธรรม เพราะเมื่อผู้เรียนสร้างสิ่งใดขึ้นมาในโลกก็หมายถึงการสร้างความรู้ในตนเองขึ้นมานั่นเอง หากสังเกตให้ดีจะเห็นว่าทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยตนเองด้วยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ( Constructi

ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism)

ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ( Constructionism) เลิศชาย ปานมุข  ( http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic= 2874.0 ;wap 2 )   ได้กล่าวถึงทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ( Constructivism) ไว้ว่า  เป็นทฤษฏีที่ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์   รวมทั้งโครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่งต่างๆ   เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทำกับข้อมูล   นอกจากกระบวนการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว   ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย   การสร้างความรู้จึงเป็นกระบวนการทั้งด้านสติปัญญาและสังคมควบคู่กันไป   สยุมพร  ศรีมุงคุณ   ( https://www.gotoknow.org/posts/ 341272 )    ได้กล่าวถึงทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง( Constructivism) ไว้ว่า  เป็นทฤษฏีที่ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์   รวมทั้งโครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่งต่างๆ   เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทำกับข้อมูล   นอกจากกระบวนการเรียนรู้จะเป