วิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคจัดการเรียนรู้

วิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคจัดการเรียนรู้

สุวิทย์ มูลคำ, อรทัย มูลคำ (2545) และประกาศิต อานุภาพแสนยากร (2559)ได้รวบรวม 88 วิธีการจัดการเรียนรู้เป็นดังนี้
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ
1. การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย (Lecture Method)
2. การจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย (Discussion Method)
3. การจัดการเรียนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion)
4. การจัดการเรียนรู้แบบสาธิต (Demonstration Method)
5. การจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role Method)
6. การจัดการเรียนรู้โดยใช้การแสดงละคร (Dramatization)
7. การจัดการเรียนรู้แบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)
8. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม (Game)
9. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ (Process)
10. การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการสุ่ม (Group Process)
11. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
12. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค TGT (Team Games Tournaments)
13. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions)
14. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค JIGSAW
15. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integration)
16. การจัดการเรียนรู้แบบ STORYLINE
17. การจัดการเรียนรู้แบบมุ่งประสบการณ์ภาษา (Concentrated Language Encounters)
18. การจัดการเรียนรู้แบบชี้แนะ (Direct Instruction)
19. การจัดการเรียนรู้แบบ SQ 3R
20. การเรียนรู้โดยแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
21. การจัดการเรียนรู้แบบเอกัตภาพ (Individualized Instruction)
22. การจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรียนรู้ (Learning Center)
23. การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนโปรแกรม(Programmed Instruction)
24. การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนโมดูล (Instructional Module)
25. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน (Instructional Package)
26. การจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
27. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Method)
28. การจัดการเรียนรู้โดยการไปทัศนศึกษา (Field Trip)
29. การจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและธรรมชาติ

การเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม
30. การจัดการเรียนรู้แบบไตรสิกขา
31. การจัดการเรียนรู้โดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ
32. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ค่านิยมให้กระจ่าง
33. การจัดการเรียนรู้แบบเบญจขันธ์
34. การจัดการเรียนรู้ตามขั้นทั้งสี่ของอริยสัจ
35. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสร้างนิสัย
36. การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาจริยธรรม
37. การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
38. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเผชิญสถานการณ์
39. การจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทาน
40. การจัดการเรียนรู้แบบซักค้าน

การเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
41. การจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย (Inductive Method)
42. การจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย (Deductive Method)
43. การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method)
44. การจัดการเรียนรู้แบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
45. การจัดการเรียนรู้แบบทดลอง (Experimental Method)
46. การจัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา (Problem Solving Method)
47. การจัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหาโดยใช้สาระสนเทศ (Information Problem-Solving Approach)
48. การจัดการเรียนรู้แบบใช้คำถาม (Question Method)
49. การจัดการเรียนรู้แบบ KWL (Know-Want-Learned)
50. การจัดการเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Case Study Method)
51. การจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ (Creative Teaching)
52.การจัดการเรียนรู้แบบระดมสมอง (Brainstroming Method)
53. การจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ (Synectics Method)
54. การจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ความรู้ (Constructivism)
55. การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry Method)
56. การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม (Groub Investigation Method)
57. การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT
58. การจัดการเรียนรู้แบบจัดกรอบมโนทัศน์ (Concept Mapping Techinique)
59. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังความรู้แบบวี (Knowledge Vee Diagramming)
60. การจัดการเรียนรู้แบบวรรณี (Wannee Teaching Model)
61. การจัดการเรียนรู้แบบการพยากรณ์ (Forecast or Prediction Method)

การเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยี
62. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี / สิ่งพิมพ์
63. การจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งวิทยากรในชุมชน
64. การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบเรียนสำเร็จรูป
65. การจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
66. การจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
67. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บช่วยสอน
68. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บเควสท
69. การจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก
70. การจัดการเรียนรู้โดยการตัดสินใจอย่างฉลาด
71. การจัดการเรียนรู้โดยการสร้างแผนผังความคิด
72. การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา
  
เทคนิคการจัดการเรียนรู้
73. เทคนิคการต่อเรื่องราว (Jigsaw)
74. เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
75. เทคนิคคู่คิดสี่สหาย (Think-Pair-Share)
76. เทคนิคคู่ตรวจสอบ (Pair Check)
77. เทคนิคเล่าเรื่องราว (Roundrobin)
78. เทคนิคโต๊ะกลม (Roundtable)
79. เทคนิคการเรียนร่วมกัน (Learning Together)
80. เทคนิคร่วมกันคิด (Numbered Heads Together)
81. เทคนิคกลุ่มสืบค้น (GI : Groop Investigation)
82. เทคนิคการจัดทีมแข่งขัน (TGT : Team Games Tournament)
83. เทคนิคแบ่งปันความสำเร็จ (STAD : Student Teams Achievement Division)
84. เทคนิคการสัมภาษณ์ 3 ขั้นตอน (Three Step Interview)
85. เทคนิคช่วยกันคิดช่วยการเรียน (TAI : Team Assited Individualization)
86. เทคนิคการเรียนรู้แบบวิธีการติดต่อภาพ รูปแบบที่1 (Jigsaw 1)
87. เทคนิคการเรียนรู้แบบวิธีการติดต่อภาพ รูปแบบที่2 (Jigsaw 2)
 88. เทคนิคการเรียนรู้แบบ CO-OP  CO-OP

สรุป
       จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรู้ ทำให้เห็นว่ามีวิธีการจัดการเรียนรู้ที่มากมาย ที่สามารถนำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ มีทั้งการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม การเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยี รวมทั้งเทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจถึง 88 วิธี ซึ่งแต่ละวิธีมีการจัดการเรียนรู้ที่แต่ต่างกัน ดังนั้นในการเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในห้องเรียน ควรเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหา วัย และความสามารถของเด็ก ซึ่งจะทำให้การเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ที่มา
สุวิทย์ มูลคำ, อรทัย มูลคำ.(2545).วิธีการจัดการเรียนรู้. 19 วิธีการจัดการเรียนรู้:เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์การพิมพ์.
สุวิทย์ มูลคำ, อรทัย มูลคำ.(2545).วิธีการจัดการเรียนรู้. 20 วิธีการจัดการเรียนรู้:เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์การพิมพ์.
สุวิทย์ มูลคำ, อรทัย มูลคำ.(2545).วิธีการจัดการเรียนรู้. 21 วิธีการจัดการเรียนรู้:เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์การพิมพ์.
ประกาศิต อานุภาพแสนยากร.(2559). เอกสารคำสอน รายวิชา การจัดการเรียนรู้ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 2559.





โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism)

การจัดการเรียนรู้แบบวรรณี

ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline)